pdf




File information


Title: มหัศจรรย์อัลกุรอานกับการสร้างมนุษย์
Author: ซารีฟ บินอับดุลลาฏีฟ เจ๊ะแม

This PDF 1.5 document has been generated by Microsoft® Word 2010, and has been sent on pdf-archive.com on 04/07/2016 at 15:34, from IP address 113.53.x.x. The current document download page has been viewed 1429 times.
File size: 1.29 MB (48 pages).
Privacy: public file
















File preview


มหัศจรรย์ อัลกุรอานกับการสร้ างมนุษย์
] ไทย – Thai – ‫[ تايالندي‬

ซารีฟ บินอับดุลลาฏีฟ เจ๊ ะแม
ตรวจทานโดย : ทีมงานภาษาไทยเว็บอิสลามเฮ้ าส์
ที่มา : islamhouse.com

2012 - 1433

‫اإلعجاز القرآين يف خلق اإلنسان‬
‫« باللغة اتلايالندية »‬

‫رشيف بن عبداللطيف‬

‫مراجعة‪ :‬فريق اللغة اتلايالندية بموقع دار اإلسالم‬

‫املدصدر‪islamhouse.com :‬‬

‫‪2012 - 1433‬‬

ด้ วยพระนามของอัลลอฮฺ ผู้ทรงเมตตา ปรานีย่ งิ เสมอ

มหัศจรรย์ อัลกุรอานกับการสร้ างมนุษย์
บทนา
คัมภี ร์อัลกุรอานเป็ นวจนะของเอกองค์อัลลอฮ์ สุบหา
นะฮูวะตะอาลา ซึ่งพระองค์ทรงเปิ ดเผยต่อศาสนทูตมูฮัมหมัด
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม โดยผ่านทางมลาอีกะฮฺ (เทวทูต)
ญิบรี ล (Gabriel) กว่า 14 ศตวรรษมาแล้ วที่เอกองค์อลั ลอฮ์ สุบ
หานะฮูวะตะอาลา ได้ ประทานคัมภีร์อลั กุรอาน ลงมายังมนุษย์
เพื่อให้ เป็ นคัมภีร์แห่งทางนา พระองค์ ทรงเรี ยกร้ องให้ มนุษย์รับ
การชี ้นาสู่สจั ธรรมด้ วยการยึดมัน่ ต่อ คัมภีร์อลั กุรอาน นับตังแต่

วาระแรกแห่งการประกาศโองการจวบจนกระทัง่ ถึงวันแห่งการ
ตัดสิน คัมภีร์อลั กุรอานจะยังคงเป็ นทางนาหนทางเดียวสาหรับ
มวลมนุษยชาติ
อัลลอฮ์ สุบหานะฮูวะตะอาลา ทรงตรัสในคัมภี ร์อัลกุ
รอานว่า

َ َ َ ‫َ َ ََََ َ َر ََر‬
‫َ ر‬
‫َ َ ي َ ر‬
َ َ َ
َٰ ‫نفسِ ِهم ح‬
‫ٱۡلق أ َو لم‬
‫ّت يتبّي لهم أنه‬
‫اق و ِف أ‬
ِ ‫ُني ِهم ءايَٰت ِنا ِف ٱٓأۡلف‬
ِ ‫﴿س‬
َ ‫َ َ َ َ ر َ َ َٰ ر‬
َ
َ
]٥٣ :‫ ﴾ [فدصلت‬٥٣ ‫ك َشء ش ِهيد‬
ِ ‫يك ِف بِربِك أنهۥ َع‬
3

ความว่า “เราจะให้ พวกเขาได้ เห็นสัญญาณทังหลายของเราใน

ขอบเขตอันไกลโพ้ น และในตัวของพวกเขาเอง จนกระทัง่ จะเป็ น
ที่ ป ระจัก ษ์ แ ก่ พ วกเขาว่า อัล กุร อานนั้น เป็ นความจริ ง ยัง ไม่
พอเพียงอีกหรื อที่ พระเจ้ าของเจ้ านัน้ ทรงเป็ นพยานต่อทุกสิ่ง ”
(คัมภีร์อลั กุรอาน, ซูเราะห์ฟศุ ศิลตั : อายะฮ์ที่ 53)
คัมภีร์อลั กุรอานที่นามาเปิ ดเผยเมื่อ 14 ศตวรรษที่ผ่าน
มาได้ แจ้ งถึงเหตุการณ์ ที่อยู่เ หนือกฎเกณฑ์ต่างๆ เอาไว้ อย่าง
มากมาย รวมทังความจริ

งทางด้ านวิทยาศาสตร์ ที่มนุษย์เราเพิ่ง
ค้ น พบหรื อ ได้ รั บ การพิ สู จ น์ จ ากนั ก วิ ท ยาศาสตร์ แ ละด้ วย
เทคโนโลยีที่ลา้ สมัยในยุคศตวรรษที่ 20 นัน้ มีกล่าวอ้ างอยู่ใน
คัมภีร์อลั กุรอานเมื่อ 1,400 ปี มาแล้ ว ข้ อเท็จจริ งเหล่านี ้เป็ นข้ อ
พิ สู จ น์ ใ ห้ เห็ น ว่ า คัม ภี ร์ อัล กุร อาน คื อ คัม ภี ร์ ที่ พ ระผู้ เป็ นเจ้ า
ประทานลงมาโดยแท้ แน่นอนคัมภี ร์อัลกุรอานไม่ใช่หนังสือ
วิทยาศาสตร์ แต่คมั ภีร์อลั กุรอานก็ได้ ระบุถึงข้ อเท็จจริ งทางด้ าน
วิทยาศาสตร์ ที่ค้นพบด้ วยเทคโนโลยีในยุคศตวรรษที่ 20 เอาไว้
อย่างลึกซึ ้งและรัดกุม
ชี ว วิ ท ยา (Biology)
ถื อ เป็ นแขนงวิ ช าหนึ่ ง ทาง
วิ ท ยาศาสตร์ ที่ ศึก ษาเกี่ ย วกับ สิ่ ง มี ชี วิ ต เรื่ อ งราวต่า งๆ ทาง
4

ชีววิทยามีการกล่าวเอาไว้ อย่างมากมายในคัมภีร์อลั กุ รอานเมื่อ
1,400 ปี มาแล้ ว ซึ่ง มนุษ ย์ เ พิ่ ง ค้ น พบเมื่ อไม่นานมานี ้ เช่น
วิวัฒ นาการของมนุษย์ การกาเนิดมนุษย์ การพัฒ นาตัวอ่อน
ของมนุษย์ และการสร้ างสรรค์เป็ นคู่ เป็ นต้ น ทีนีเ้ รามาลองดู
ตัวอย่างปรากฏการณ์ตา่ งๆ ทางชีววิทยาที่มีการกล่าวเอาไว้ ใน
คัมภีร์อลั กุรอาน
ความขัดแย้ งของทฤษฏีวิวัฒนาการ
- การกาเนิดชีวิต
นับตังแต่
้ ที่ทฤษฏี วิวัฒนาการของชาลส์ ดาร์ วิน ได้ ถือ
กาเนิดขึน้ มา สิ่งสาคัญที่ทาให้ ทฤษฎีนีก้ ลายเป็ นประเด็นหลัก
ในโลกวิทยาศาสตร์ ก็คือตาราของ ชาลส์ ดาร์ วิน ที่เขียนถึงเรื่ อง
“จุดกาเนิ ดของสิ่ งมี ชีวิต” (The Original of Species) ในหนังสือ
เล่มนี ้ ชาลส์ ดาร์ วิน ได้ ปฏิเสธว่า สิ่งมีชีวิตต่างๆ ในโลกมิได้ เกิด
จากการสร้ างสรรค์โดยเอกเทศของพระเจ้ า เขาเชื่อว่าสิ่งมีชีวิต
ทังหลายมี

กาเนิดมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน แต่วิวฒ
ั นาการไป
ตามกาลเวลาจนมีลกั ษณะที่ตา่ งกัน

5

ทฤษฎี วิวัฒ นาการของดาร์ วิน เป็ นแนวความคิดวัตถุ
นิ ย มที่ ยึ ด ถื อ เป็ นพื น้ ฐานทางวิ ท ยาศาสตร์ ใ นการอธิ บ าย
หลักการของตน ทฤษฎีนี ้อ้ างว่าสิ่งมีชีวิตถือกาเนิดจากสิ่งที่ไม่มี
ชี วิ ต อย่ า งบั ง เอิ ญ แต่ ข้ ออ้ างนั น้ ก็ ต กไปอย่ า งสิ น้ เชิ ง โดย
ข้ อเท็จจริ งที่หนักแน่น กว่าคือจักรวาลถูกสร้ างสรรค์โดยพระผู้
เป็ นเจ้ า พระเจ้ าทรงสร้ างสรรค์จักรวาล และทรงออกแบบแม้
รายละเอี ย ดที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ดัง นั น้ จึ ง เป็ นไปไม่ ไ ด้ เลยที่ ท ฤษฎี
วิวฒ
ั นาการจะอธิบายว่า การกาเนิดของสิ่งมีชีวิตไม่ได้ มา
จากการสร้ างสรรค์ของพระผู้เป็ นเจ้ าแต่เกิดขึ ้นจากเหตุบงั เอิญ
ทฤษฎีของชาลส์ ดาร์ วิน ไม่ได้ มีพื ้นฐานที่เป็ นรู ป ธรรม
ทางวิ ท ยาศาสตร์ และเขาก็ ย อมรั บ ว่ า ยั ง คงเป็ นแค่ เ พี ย ง
“สมมติฐาน” ยิ่งไปกว่านัน้ ตัวดาร์ วินเอง ได้ สารภาพไว้ ในตารา
ของเขาในบทที่ชื่อ “ความยากลาบากแห่งทฤษฎี ” ว่าทฤษฎีของ
เขาไม่สามารถตอบคาถามสาคัญๆ ได้
ดาร์ วิน ฝากความหวังของเขาทังหมดไว้

กับการค้ นพบ
ของวิทยาศาสตร์ สมัยใหม่ ซึ่งเขาคาดว่าจะเป็ นผู้เฉลย “ความ
ยากลาบากแห่งทฤษฎี” แต่ทว่าการค้ นพบทางวิทยาศาสตร์ ที่ได้
ขยายมิตติ า่ งๆ ได้ กลับกลายเป็ นข้ อโต้ แย้ งสาหรับดาร์ วินไป
6

ข้ อบกพร่องของดาร์ วินในทางวิทยาศาสตร์ อาจจาแนก
ได้ เป็ น 3 ประเด็นดังนี ้
1. ทฤษฎี นี ไ้ ม่ส ามารถอธิ บ ายได้ ว่า ชี วิ ต เกิ ด ขึน้ ได้
อย่างไร
2. ไม่มีการค้ นพบทางวิทยาศาสตร์ ที่สามารถแสดงให้
เห็นว่า “กลไกแห่งการวิวฒ
ั นาการ” ที่เสนอโดย
ทฤษฎีนี ้จะเป็ นไปได้
3. การพิ สู จ น์ ซ ากฟอสซิ ล พบข้ อเท็ จ จริ ง ที่ แ ย้ งกั บ
ทฤษฎีวิวฒ
ั นาการ
ประเด็นสาคัญที่แย้ งทฤษฎีของดาร์ วินคือดาร์ วิน ได้ อิง
ทฤษฎี วิวัฒ นาการของเขาเข้ ากับกลไก “การเลื อกสรรของ
ธรรมชาติ (Natural Selection)” ดังปรากฏเป็ นชื่อในหนังสือ
ของเขาว่า “จุดกาเนิ ดของสิ่ งมี ชีวิต, โดยวิ ธีการเลื อกสรรของ
ธรรมชาติ ” ตามแนวคิดเรื่ องการเลื อกสรรของธรรมชาตินัน้
สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ แ ข็ ง แกร่ ง และเหมาะสมต่ อ สภาพแวดล้ อมของ
ธรรมชาติจงึ จะสามารถมีชีวิตอยูร่ อดได้ ในภาวะการต่อสู้แย่งชิง
การค้ นพบของเกรเกอร์ เมนเดล (Gregor Mendel) ที่
ได้ ชื่อว่า เป็ นบิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์ เกี่ยวกับกฎการถ่ายทอด
7

ทางพั น ธุ ก รรม ได้ รั บ การพิ สู จ น์ โ ดยนั ก วิ ท ยาศาสตร์ ด้ าน
พันธุกรรมในศตวรรรษที่ 20 ได้ ลบล้ างตานานความเชื่อนี ้ไปโดย
สิ ้นเชิง การเลือกสรรของธรรมชาติจึงไม่อาจเป็ นกระบวนการ
ของทฤษฎี วิ วั ฒ นาการได้ ดั ง นั น้ กลไกการเลื อ กสรรของ
ธรรมชาติ จึงไม่มีพลังใดๆ ที่สามารถทาให้ เกิดวิวฒ
ั นาการได้
ดาร์ วินเองก็ตระหนักถึงข้ อเท็จจริ งนี ้เป็ นอย่างดีดงั ได้ กล่าวไว้ ใน
หนังสือ จุดกาเนิ ดของสิ่ งมี ชีวิต ของเขาว่า: “การเลื อกสรรของ
ธรรมชาติ จ ะไม่ มี ผ ลใดๆ จนกว่ า ลั ก ษณะความผั น แปรที ่
เหมาะสมจะบังเอิ ญเกิ ดขึ้น”
จากหลายๆ การพิ สู จ น์ จ ากนั ก วิ ท ยาศาสตร์ ที่
พยายามจะหาข้ อสรุ ปของทฤษฏีวิวฒ
ั นาการ ซึ่งยังไม่มีข้อสรุ ป
ใดที่ มี ค วามชัด เจนหรื อ บ่ง บอกถึ ง ความถู ก ต้ อ งของทฤษฏี
วิวัฒ นาการได้ ซึ่ง ความเห็ น โดยส่ว นใหญ่ มี ค วามคิด เห็ น ว่า
ทฤษฏี วิวัฒ นาการนัน้ ยัง มี ข้อบกพร่ องและไม่ถูกต้ อง ดัง เช่น
คาพูดของนักชีววิทยาหลายๆ ท่าน ที่ได้ ทาการพิสูจน์ในเรื่ อง
วิวฒ
ั นาการ
อเล็กซานเดอร์ โอพาริ น (Alexander Oparin) นัก
ชีววิทยาผู้มีชื่อเสียงชาวรัสเซีย ผู้ที่เริ่ มต้ นศึกษาเรื่ องกาเนิดชีวิต
8

ตามทฤษฎีวิวฒ
ั นาการ เขาได้ พยายามที่จะพิสจู น์ว่าเซลล์ของ
สิ่งมีชีวิตเกิดขึน้ เองได้ แต่ทว่าการศึกษาของเขาก็ดูเหมือนจะ
ล้ มเหลว โดยที่โอพาริ นจาต้ องกล่าวสารภาพว่า “น่าเสี ยดายที ่
ต้นกาเนิ ดของเซลล์นนั้ ดูเหมื อนจะยังคงเป็ นคาถามที ่เป็ นส่วนที ่
มื ดมนทีส่ ดุ จริ งๆ ในทฤษฎี วิวฒ
ั นาการ”
ดีเรค วี เอเกอร์ (Derek V. Ager) นักชีววิทยาชาว
อังกฤษ เป็ นนักวิวฒ
ั นาการคนหนึ่ง เขากล่าวว่า “สิ่ งที ่ประจักษ์
ก็ คื อ เมื ่ อ เราตรวจสอบซากฟอสซิ ล โดยละเอี ย ดไม่ ว่ า จะใน
ระดับชัน้ หรื อชนิ ด เราจะพบซ้ าแล้วซ้ าเล่าว่า ไม่ได้มีวิวฒ
ั นาการ
อย่างค่อยเป็ นค่อยไป แต่เป็ นการกาเนิ ดของสิ่ งมี ชีวิตกลุ่มหนึ่ง
พร้อมกับการสิ้ นสุดของสิ่ งมี ชีวิตอีกกลุ่มหนึ่ง”
ดักลาส ฟูตยู าม่า (Douglas J. Futuyma) นักชีววิทยา
ด้ า นการวิ วัฒ นาการ ยอมรั บ ความจริ ง ข้ อ นี ว้ ่ า “ข้ อ โต้ แ ย้ ง
ระหว่างการกาเนิ ดกับการวิ วฒ
ั นาการนัน้ พูดกันมามากแล้วใน
การอธิ บ ายการก าเนิ ด สิ่ ง มี ชี วิ ต สิ่ ง มี ชี วิ ต ที ่อุบัติ ขึ้ น ในโลกมี
พัฒนาการที ่สมบูรณ์ แบบหรื อยังบกพร่ องอยู่ หากยังบกพร่ อง
อยู่ก็จะต้องมี กระบวนการพัฒนาจากรุ่ นก่ อนโดยกระบวนการ

9






Download pdf



pdf (PDF, 1.29 MB)


Download PDF







Share this file on social networks



     





Link to this page



Permanent link

Use the permanent link to the download page to share your document on Facebook, Twitter, LinkedIn, or directly with a contact by e-Mail, Messenger, Whatsapp, Line..




Short link

Use the short link to share your document on Twitter or by text message (SMS)




HTML Code

Copy the following HTML code to share your document on a Website or Blog




QR Code to this page


QR Code link to PDF file pdf






This file has been shared publicly by a user of PDF Archive.
Document ID: 0000397102.
Report illicit content